ชื่อเทพเจ้าแห่งอียิปต์

66666666666666666666


เทพเจ้าของอียิปต์โบราณมีทั้งหมด 9 พระองค์

1.เทพรา คือ เทพแห่งดวงอาทิตย์ ร่างกาย เป็นมนุษย์หัวเป็นนกเหยี่ยว เป็นเทพบิดรแห่งเทพทั้งปวง สัญลักษณ์ของพระองค์คือ รูปจานกลมแห่งดวงอาทิตย์
2.เทพโอซีริส คือ เทพแห่งเกษตรกรรม เทพผู้ยิ่งใหญ่แห่งยมโลก ฟาโรห์ที่สวรรคตจะทรงไปรวมกับโอซิริสในดินแดนหลังความตายในที่ฝังพระศพจะมี
3.เทพฮอรัส คือ โอรสแห่งโอซิริส และไอซีส ทรงสภาพเป็นนกเหยี่ยว เป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าและถูกทียบเป็นองค์ฟาโรห์เมื่อยังทรงพระชนม์ จึงจะพบรูปสลักองค์ฟาโรห์มีเทพฮอรัสรวมอยู่ด้วยเสมอฮอรัส คือตัวแทนแห่งความฉลาดแหลมคม และมีดวงตาที่มองทะลุได้อย่างรู้แจ้งเห็นจริง
4.เทพอานูบิส คือ เทพแห่งความตาย และการจัดการพิธีศพ มีรูปเป็นหมาไน จะพบรูปอนูบิสในหลุมฝังศพ และที่ฝังพระศพทุกแห่ง
5.เทวีไอซิส คือ อัครเทวีที่คนอียิปต์ให้ความนับถือมากที่สุด เป็นเทวีแห่งความรัก และการอุทิศตนเพื่อสามีและบุตร และยังมีมนต์ และชื่อเสียงทางด้านการรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วยไอซีมีพระรูปเป็นหญิงงาม ทรงเครื่องอย่างมเหสีแห่งฟาโรห์
6.เทวีเสลเคต คือ เทวีผู้ดุร้าย คอยปกป้องเทพทั้งมวลโดยเฉพาะสุริยเทพ เป็นผู้นำความหายนะมาสู่ศัตรูผู้คิดร้ายกับสุริยเทพ มีรูปเป็นสิงโตตัวเมีย สวมศิราภรณ์รูปจานกลมแห่งดวงอาทิตย์
7.อิมโฮเตป คือ เทพเจ้าแห่งลำน้ำ มีรูปเป็นจรเข้ เป็นเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ เพราะชีวิตของคนอียิปต์ขึ้นอยู่กับแม่น้ำไนล์
มัมมี่จระเข้ของโซเบคจะพบได้ทั่วไปในเขตที่นับถือเทพองค์นี้ริม 2 ฝั่งแม่น้ำไนล์
8.อาเมนโฮเตป คือ เป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่แห่งเมืองธีบส์ มีรูปเป็นบุรุษเพศ เศียรประดับศิราภรณ์รูปขนนกยาว ยุคหลังพระนามเพี้ยนเป็น อาตอน หรือ อาเตน ในยุคของฟาโรห์อาเมนโฮเทปที่ 4 ได้ทรงพยายามให้คนอียิปต์ทั้งมวลหันมาเคารพเทพอาเตนเพียงองศ์เดียวซึ่งนับเป็นความพยายามในการปฎิรูป
9.ฮาเธอร์ คือ เทวีผู้ให้ ผู้มีความเมตตา จะอยู่ในรูปของวัว หรือเทพีที่มีเขาวัวอยู่บนเศียร ในสมัยหนึ่งน่าจะเป็นองศ์เดียวกับไอซีส เพราะตำนานบางแห่งก็ว่าเป็นมารดาแห่งฮอรัส แต่ภายหลังได้แยกจากกัน คือให้ ไอซีเป็นมารดาแห่งฮอรัส แต่ฮาเธอร์เป็นแม่นม จึงปรากฎรูปฮาเธอร์ในลักษณะวัว กำลังให้นมฟาโรห์อยู่

1.เทพเจ้าของอียิปต์โบราณมีทั้งหมดกี่องค์
2.เทพราคือเทพแห่งดวงอาทิตย์ร่างกายเป็นมนุษย์หัวเป็นนกเหยี่ยวเป็นเทพบิดรแห่งเทพทั้งปวงอย่างไร
3.ทำไม อิมโฮเตป คือ เทพเจ้าแห่งลำน้ำ

ใส่ความเห็น